วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Chapter 3 : Organizational buying models_BUS702 : To present Dr.Vichit U-on. By Oranuch Tantisook _No.18

1. ประวัติความเป็นมา และความหมาย

Industrial Buying Behavior Model (Sheth 1973)
The Dyadic Paradigm (Bonoma, Bagozzi and Zaltman 1975)
The Interactive Process Model (Backhaus and Gunter 1976)
Industrial Market Response Model (Choffray and Li lien 1978)
(Ghingold 1985)

ตลาดองค์การ หมายถึง กลุ่มบุคคลและ/หรือ องค์การที่ซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อการผลิต การอุตสาหกรรม การให้บริการ
พฤติกรรมการซื้อของตลาดองค์การแบ่งเป็นสองตลาด 3 ตลาด
1.          ตลาดอุตสาหกกรมหรือตลาดผู้ผลิต
2.          ตลาดคนกลางหรือตลาดผู้ขายต่อ
3.          ตลาดรัฐบาล


2.องค์ประกอบของการจัดซื้อ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อขององค์กรธุรกิจมีอยู่ 4 ประการคือ 

1. ปัจจัยด้านสถานการณ์และสิ่งแวดล้อม (Environment Factors)
 2. ปัจจัยภายในองค์การ (Organizational Factors) 
 3. ปัจจัยระหว่างบุคคล (Interpersonal Factors)
 4. ปัจจัยเฉพาะบุคคล (Individual Factors) 


 กระบวนการการจัดซื้อขององค์กร (Stages in the Organizational Buying Process)

 1. การรับรู้ถึงความต้องการถึงปัญหา (Organizational Need)
 2. การแสวงหาข้อมูล และการประเมินทางเลือก (Vendor Analysis) 
3. การตัดสินใจซื้อ (Purchase Activities) 
4. พฤติกรรมภายหลังการซื้อ หรือการประเมินหลังการซื้อ (Post purchase Evaluation)


3.ตัวชี้วัดและการประยุกต์ใช้

การส่งมอบสินค้าหรือบริการตามที่องค์กรได้ให้คำมั่นสัญญาไว้กับลูกค้า และเข้าใจในระบบการวางแผนการใช้เงินอย่างคุ้มค่าและในเวลาที่ถูกต้อง และสามารถควบคุมและดำเนินการให้เป็นไปตามระบบและเข้าใจในองค์ประกอบและปัจจัย จนนำไปสู่ การมีต้นทุนที่ต่ำลงแต่มีคุณภาพของสิ่งที่จัดซื้อและเหมาะสม และผลที่ได้รับคือ ยังคงสามารถส่งต่อ สินค้าและบริการไปยัง คู่ค้า หรือลูกค้าและนำไปสู่ความพึงพอใจและยอดขายแบบเต็มประสิทธิภาพการวางแผนโดยยึดแนวคิดพฤติกรรมการซื้อระดับองค์กร

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น