วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Chapter 7 : Promotion _BUS702: To present Dr.Vichit U-on. By Oranuch Tantisook No. 18

อรนุช  ตันติสุข 
รหัสนักศึกษา  57561027
D.B.A # 06   มหาวิทยาลัยศรีปทุม   ผศ.ดร. วิชิต  อู่อ้น

การส่งเสริมการตลาด (Marketing Promotion)
ประวัติความเป็นมา และความหมาย
Bumet (วรสิทธิ์  สันตะพันธ์ 2552) ให้ความหมายการส่งเสริมการตลาด  หมายถึง  การติดต่อสื่อสารไปยังลูกค้าผู้คาดหวังเพื่อแจ้งให้ทราบว่ามีผลิตภัณฑ์ตอบสนองความต้องการเพื่อให้ได้รับความพอใจ
Kotler, Philip. (1999). Marketing Management(สาธินี  แซ่ตั้ง 2553) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer behavior) หมายถึง การกระทำของบุคคลใดบุคคลหนึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการจัดหาให้ได้มาแล้วซึ่งการใช้สินค้าและบริการ ทั้งนี้หมายรวมถึง(ดาราวัลย์  เนียมรัตน์ 2555) กระบวนการตัดสินใจ และการกระทำของบุคคลที่เกี่ยวกับการซื้อและการใช้สินค้า

องค์ประกอบหลัก
กลยุทธ์การตลาดจัดเป็นอาวุธที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการทำธุรกิจ(Dubey 2014) ซึ่งปัจจุบันมีกลยุทธ์การตลาดต่างๆ มากมายให้เลือกเพื่อนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับธุรกิจ(แววศิริ  ชมนารถติกร 2007) แต่กลยุทธ์ที่ต้องถือเป็นต้นแบบทางการตลาดอย่างแท้จริงคงจะหนีไม่พ้นกลยุทธ์การตลาด  4p(Horchover 2002)
1. Product ก็คือสินค้าหรือบริการที่เราจะเสนอให้กับลูกค้า (DiClemente, Crosby et al. 2002)แนวทางการกำหนดตัว product ให้เหมาะสมก็ต้องดูว่ากลุ่มเป้า หมายต้องการอะไร แต่โดยทั่วไปแนวทางที่จะทำสินค้าให้ขายได้มีอยู่สองอย่างคือ (Aydinli, Bertini et al. 2014)

 2. Price ราคาเป็นสิ่งที่ค่อนข้างสำคัญในการตลาด การตั้งราคาในที่นี้จะเป็นการตั้งราคาให้เหมาะสมกับ ผลิตภัณฑ์ และกลุ่มเป้าหมายของเรา เพราะราคาคือตัวบ่งบอกภาพลักษณ์ของสินค้าที่สำคัญที่สุด
3. Place คือวิธีการนำสินค้าไปสู่มือของลูกค้า (Bose, Folse et al. 2013)หลักของการเลือกวิธีกระจายสินค้านั้นไม่ใช่ขายให้มากสถานที่ที่สุดจะดีเสมอ เพราะมันขึ้นอยู่กับว่า สินค้าของท่านคือ อะไร และกลุ่มเป้าหมายท่านคือใคร เช่นของใช้ในระดับบน ควรจะจำกัดการขายไม่ให้มีมากเกินไป
   4. Promotion คือการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อบอกลูกค้าถึงลักษณะสินค้าของเรา เช่นโฆษณาในสื่อต่างๆ หรือการทำกิจกรรม ที่ทำให้คนมาซื้อสินค้าของเรา เช่นการทำการลดราคาประจำปี ขึ้นกับ ช่องทางที่เราจะใช้ ที่จะดีและอาจจะฟรีคือ สื่ออินเตอร์เนต ซึ่งมีผู้ใช้เพิ่มจำนวนขึ้นมากในแต่ละปี สื่ออื่นๆที่ถูกๆ ก็จะเป็นพวก ใบปลิว โปสเตอร์ หากเป็นสื่อท้องถิ่นก็จะมี รถแห่ วิทยุท้องถิ่น หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ต้น
การโฆษณา (Advertising)
การขายโดยพนักงานขาย (Personal Selling)
การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion)
การประชาสัมพันธ์ (Public Relations)
การตลาดทางตรง (Direct Marketing)
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดส่วนประสมการส่งเสริมการตลาด(ยุพพา  ขวัญสกุล 2549)
1. ลักษณะของตลาดเป้าหมาย (Nature of Target Market)
2. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ (Nature of Product)
การประยุกต์ใช้
หลายๆคนอาจเคยรู้จักเว็บขายดีล www.Ensogo.com    ซึ่งขายสินค้าและบริการ มีทั้งร้านอาหาร  ความงามและสปา  ที่พักโรงแรม  ซึ่งทาง  ensogo  _จะหาร้านค้ามาลง  โดยให้สินค้าลดลง  50-90%  `  แต่สิ่งที่ร้านค้ามาลงกับกับ  ensogo นั้นได้
                   การสร้างการรู้จักแบรนด์ (Brand Awareness) 
                   ไม่เสียค่าโฆษณาก่อนล่วงหน้า  เพราะถ้าไปโฆษณาโดยการออกบู๊ท  โปรโมตตามหนังสือพิมพ์  ทีวี  วิทยุ  จะเสียค่าโฆษณาก่อนล่วงหน้า  โดยยังไม่ทราบว่าสินค้าจะขายได้หรือไม่
                   เสียค่าคอมมิชั่น  35-50 %  สำหรับร้านอาหาร และคลีนิคเสริมความงาม
  และ  35-10%  สำหรับที่พัก  โรงแรม   (ซี่งทาง  agoda จะเก็บค่าคอมมิชั่นอยู่ที่  15-18%)
                   การทำเงื่อนไขพิเศษ  ใช้ได้บางช่วงเวลา  โดยปกติแล้วโรงแรมจะมีผู้เข้าพัก  วันศุกร์และ  เสาร์  ส่วนในช่วงวันอื่นจะไม่มีผู้เข้าพัก  ทางโรงแรมเลยนำมาลดราคา 50-70%  ในวันอาทิตย์ถึงพฤหัสบดี  และมีเงื่อนไขว่าถ้าเข้าพัก  วันศุกร์และเสาร์จะเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม 










กลุ่มลูกค้า ของ Ensogo   คือ ผู้หญิง   วัยนักศึกษาและวัยทำงาน   มีอายุ ในช่วง  25 – 35 ปี
ซึ่งการทำการตลาดของ Ensogo  นั้นคือ  เน้นหลักคือการตลาดออนไลน์  ได้เน้นโฆษณาใน facebook  และการอีเมล์ (e-Mail List)  จุดเด่นของEnsogo คือ  การสั่งซื้อง่าย  สามารถตัดยอดผ่านอินเตอร์เน็ต  หรือโอนที่เคาเตอร์เซอร์วิส ที่เซ่เว่น  นอกจากนี้สินค้าและบริการมีราคาถูก  เพราะลด  50-90%   เพื่อกระตุ้นการขาย ทางEnsogo  ได้นำจำนวนการขายมาเร่งเพื่อปิดการขายอีกด้วย 







               

               

               
               

               
Decision-Making Over Travel Agents: An Empirical Study
" 2, No. 6: 8.
               
ดาราวัลย์  เนียมรัตน์ (2555). การวางแผนกลยุทธ์การตลาดด้านโปรโมชั. ภาควิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
               
ยุพพา  ขวัญสกุล (2549). การวิจัยตรวจสอบยุทธศาสตร์การส่งเสริมการตลาดเพื่อเพิ่มจำนวนผู้ใช้บริการของร้านหัตถศิลป์ไทย. ศิลปศาสตร์. สมุทรสาคร, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. มหาบัณฑิต.
               
วรสิทธิ์  สันตะพันธ์ (2552). กลยุทธการส่งเสริมการตลาดของร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ในเทศบาลนครอุบลราชธานี. บริหารธุรกิจ  อุบลราชธานี, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. บริหารธุรกิจ  มหาบัณฑิต.
               
แววศิริ  ชมนารถติกร (2007). การออบแบบและพัฒนาเว็บโปโมชั่น  กรณีศึกษา : โตโยต้า  ฮอนด้า  และนิสสัน. เทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยมหิดล. มหาบัณฑิต: 145.
               
สาธินี  แซ่ตั้ง (2553). ความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อการบริการการจัดโปรโมชั่นบัตรสามชิกของห้างสรรพสินค้าขายปลีกขนาดใหญ่: กรณีศึกษาเปรียบเทียบห้างเทสโก้  โลตัส  และห้างบิ๊กซีซุปเปอร์มาเก็ตในเขตจังหวัดนนทบุรี. บริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยรามคำแหง. มหาบัณฑิต.
               



Chapter 12 : Decision Support and Implementation _BUS702: To present Dr.Vichit U-on. By Oranuch Tantisook No. 18

กระบวนการตัดสินใจ

 1. การกำหนดปัญหา (Intelligent Phase) การค้นหาปัญหา การแบ่งประเภทของปัญหา การแตกย่อยปัญหาให้เล็กลง การหาเจ้าของหรือที่มาของปัญหา

 2.การออกแบบ (Design Phase) ตัวแปรในตัวแบบเชิงปริมาณ แบบแผนหรือกระบวนการตัดสินใจหรือตัวแบบในการตัดสินใจ วิเคราะห์ปัญหา กำหนดทางเลือก กำหนดเหตุการณ์ วิเคราะห์ผลลัพธ์ กำหนดเกณฑ์ การตัดสินใจ ตัดสินใจ


องค์ประกอบ:

     เป็นการแก้ไขปัญหาชัดเจนแน่นอน 
1.  Brandaid เป็นโมเดลส่วนประสมการตลาด
2.  Detailer เป็นโมเดลที่ช่วยให้นักขาย สามารถกำหนดว่าควรติดต่อกับลูกค้ารายไหน
3.  Callplan เป็นโมเดลที่ช่วยให้นักขายกำหนดลูกค้าที่คาดหวังไว้ 
4.  Geoline เป็นโมเดลสำหรับการออกแบบอณาเขตการขายและการบริการ
5.  Mediac เป็นโมเดลช่วยนักโฆษณาวางแผน 

ตัวชี้วัดของการตัดสินใจและการปฏิบัติการทางการตลาด

1.  การวิเคราะห์ถอดถอยพหุคู
2.  การวิเคราะห์จำแนกประเภท 
3.  การวิเคราะห์ปัจจัย
4.  การวิเคราะห์จัดกลุ่ม 
5.  การวิเคราะห์การประสานกัน
6.  การวัดนามามิติ 

Chapter 11 : Strategy_BUS702: To present Dr.Vichit U-on. By Oranuch Tantisook No. 18

มีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ประการได้แก่

 (1) การวิเคราะห์ (Strategic Analysis)

 (2) การจัดทำ (Strategic Formulation)

 (3) การปฏิบัติ (Strategic Implementation)

 SWOT Analysis • การวิเคราะห์ปัจจัย 5 ประการที่มีผลต่ออุตสาหกรรม หรือ 5 – Forces Analysis

 • การวิเคราะห์วงจรชีวิตอุตสาหกรรม หรือ Industry lifecycle

 • การวิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสำเร็จของอุตสาหกรรม หรือ Key Success factors

 • การวิเคราะห์ลูกโซ่แห่งคุณค่า หรือ Value chain analysis

 • การวิเคราะห์คุณค่าหรือความต้องการของลูกค้า (Customer Analysis)

 • การวิเคราะห์คู่แข่งขัน (Competitor Analysis)


 กลยุทธ์ (Strategic Formulation)

 1) ระดับองค์กร (Corporate Strategy)

 2) ระดับธุรกิจ (Business Strategy)

 3) ระดับปฏิบัติการ (Functional Strategy) สำหรับกลยุทธ์ธุรกิจ (Business Strategy)

ในการกำหนดกลยุทธ์ระดับธุรกิจหรือกลยุทธ์ในการแข่งขันนั้นสามารถจัดทำได้โดย ตอบคำถามต่าง ๆ ดังนี้

 (1) ใครคือกลุ่มลูกค้าเป้าหมายขององค์กร

 (2) อะไรคือคุณค่าหรือสิ่งที่ลูกค้าในกลุ่มเป้าหมายนั้นต้องการจากสินค้าและบริการ

 (3) อะไรคือความแตกต่าง (Differentiation) ที่องค์กรจะนำเสนอให้กับลูกค้าเป้าหมาย



ตัวชี้วัด

INPUT
PROCESS
OUTPUT
กลยุทธ์การตลาด
ของธุรกิจสปา
ด้านผลิตภัณฑ์ราคาช่องทางการจัดจำหน่ายการสื่อสารการตลาดบุคลากร,    
กระบวนการผลิต และอื่น
ประสิทธิผลการใช้กลยุทธ์การตลาดของธุรกิจสปาในประเทศไทย 
    o     ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
    o    ความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการ

Chapter 10 : New Product Planning _BUS702: To present Dr.Vichit U-on. By Oranuch Tantisook No. 18

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New product development) New product หรือผลิตภัณฑ์ใหม่
 แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
 1. ผลิตภัณฑ์นวตกรรมใหม่
 2. ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงใหม่
 3. ผลิตภัณฑ์ลอกเลียนแบบ โดยการลอกเลียนแบบ ผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขัน

 กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ แบ่งออกเป็น 8 ขั้นตอน
 1. การสร้างแนวความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่
 2. การประเมินและคัดเลือกแนวความคิด
 3. การพัฒนาและทดสอบแนวความคิด
 4. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาด
 5. การวิเคราะห์สภาพทางธุรกิจ
 6. การพัฒนาผลิตภัณฑ์
 7. การทดสอบตลาด
 8. การด าเนินธุรกิจ

 การประยุกต์ใช้
         ตัวชี้วัด
              ปัจจัยความสำเร็จเป็นขั้นตอนหลักๆ ดังนี้    §  การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
    §  การพัฒนาแนวคิดผลิตภัณฑ์ (Concept Development)
    §  การวางแผนผลิตภัณฑ์ (Product Planning)
    §  วิศวกรรมกระบวนการและผลิตภัณฑ์ (Product and Process Engineering)
    §  การทดสอบตลาด (Market Test)
    §  การวางผลิตภัณฑ์สู่ท้องตลาด (Market Launch)

วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Chapter 9 : Distribution _BUS702: To present Dr.Vichit U-on. By Oranuch Tantisook No. 18

ประเภททางช่่องการจัดจำหน่าย
 1. ช่องทางการจัดจำหน่ายทางตรง การกระจายไปสู่ผู้ริโภค มี การกระจายไปสู่ผู้ซื้อุตสาหกรรม จะมีเอเจนขึ้นมาด้วย

 2. ช่องทางการจัดจำหน่ายทางอ้อม ช่องทางการจัดจำหน่ายทางอ้อม หมายถึง เส้นทางที่สินค้าเคลื่อนย้ายจากผู้ผลิตโดยต้องผ่านคนกลางไปยังผู้บริโภค ปัจจัยการเลือกช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านบริษัท ด้านการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ตัวชี้วัดวามสำเร็จของช่อทางกาจัดจำหน่ย

 การจัดจำหน่าย (Distribution)

 1. คนกลาง (Middleman) - พ่อค้าคนกลาง (Merchant Middlemen) - ตัวแทนคนกลาง (Agent Middlemen)

 2. ธุรกิจที่ทำหน้าที่กระจายสินค้า

 3. ธุรกิจที่ให้บริการทางการตลาด

 4. สถาบันการเงิน

ทำให้เกิดการไหล (Flow)  5  ประเภท  ซึ่งรวมกันเป็นกลไก สำคัญในการจัดการช่องทางการจัดจำหน่าย   ได้แก่           1.  การไหลของสินค้า            
                       2.  การไหลของสิทธิความเป็นเจ้าของ
                       3.  การไหลของการชำระเงิน          
                       4.  การไหลของข้อมูล          
                       5.  การไหลของการส่งเสริมการตลาด

การวัดความสำเร็จของช่องทางการจำหน่ายสินค้า

o   สินค้าหรือบริการเคลื่อนที่จากแหล่งผลิตไปยังผู้บริโภคคนสุดท้ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกที่ ถูกเวลาตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค และทำให้ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจ
o   บริษัทมีกำไรและสามารถเติบโตไปได้อย่างยั่งยืน

Chapter 8 : Sales Force _BUS702: To present Dr.Vichit U-on. By Oranuch Tantisook No. 18

การขายโดยพนักงานขาย (Personal Selling) คือ รูปแบบของการติดต่อสื่อสาร ระหว่างบุคคลต่อบุคคล (Person-to-person communication) ที่พนักงานขาย (Salesperson) ใช้ความพยายาม ในการกระตุ้นให้ผู้ซื้อทำการซื้อสินค้าหรือบริการของบริษัท



จะเห็นได้ว่าการขายโดยพนักงานขายเป็นกระบวนการ ติดต่อสื่อสารสองทาง (Two-way communication process) ที่ทั้งพนักงานขายและลูกค้าคาดหวังสามารถตอบสนอง ซึ่งกันและกันอย่างทันทีทันใด 


พนักงานขาย (Salesperson) คือ บุคคลที่รับผิดชอบในการติดต่อ แสวงหาลูกค้า เสนอขาย กระตุ้นให้ลูกค้า เกิดความตั้งใจและตัดสินใจซื้อ ให้บริการก่อนและหลังการขาย รวมถึงการให้คำแนะนำลูกค้า ใน


องค์การซึ่งประกอบ ด้วยพนักงานขายมากกว่าหนึ่งคนจึงจัดตั้ง หน่วยงานขาย (Sales force) ซึ่งหมายถึง กลุ่มของพนักงานขายตั้งแต่ หนึ่งคนขึ้นไปที่รับผิดชอบในการติดต่อ แสวงหาลูกค้า เสนอขาย ตลอดจนให้บริการก่อนและหลังการขายแก่ลูกค้า การให้ความช่วยเหลือลูกค้า (Providing Service) การชักจูงใจลูกค้า (Persuasion) การติดต่อสื่อสาร (Communicating) การแก้ปัญหาให้กับลูกค้า (Problem solving) การให้ความรู้ แก่ลูกค้า (Educating)

การเอาไปประยุกต์ใช้

  -Major Account การโฟกัสกลุ่มลูกค้าที่มีขนาดใหญ่เช่นลูกค้า Fleet

-Telemarketing การนำช่องทางการตลาดต่างมาสนับสนุนการขายอย่างรวดเร็ว

-Sales Territory การมุ่งเน้นไปที่กลุ่มประชากรที่จำนวนเยอะ

-Sales Force size การนำ sales force ไปผลักดันสนับสนุนและรองรับโหลดการทำงาน