อรนุช ตันติสุข
รหัสนักศึกษา 57561027
D.B.A # 06 มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผศ.ดร. วิชิต อู่อ้น
การส่งเสริมการตลาด (Marketing Promotion)
ประวัติความเป็นมา
และความหมาย
Bumet (วรสิทธิ์
สันตะพันธ์ 2552) ให้ความหมายการส่งเสริมการตลาด หมายถึง
การติดต่อสื่อสารไปยังลูกค้าผู้คาดหวังเพื่อแจ้งให้ทราบว่ามีผลิตภัณฑ์ตอบสนองความต้องการเพื่อให้ได้รับความพอใจ
Kotler, Philip. (1999). Marketing
Management(สาธินี แซ่ตั้ง 2553) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer behavior) หมายถึง การกระทำของบุคคลใดบุคคลหนึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการจัดหาให้ได้มาแล้วซึ่งการใช้สินค้าและบริการ
ทั้งนี้หมายรวมถึง(ดาราวัลย์ เนียมรัตน์ 2555) กระบวนการตัดสินใจ
และการกระทำของบุคคลที่เกี่ยวกับการซื้อและการใช้สินค้า
องค์ประกอบหลัก
กลยุทธ์การตลาดจัดเป็นอาวุธที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการทำธุรกิจ(Dubey 2014) ซึ่งปัจจุบันมีกลยุทธ์การตลาดต่างๆ มากมายให้เลือกเพื่อนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับธุรกิจ(แววศิริ
ชมนารถติกร 2007) แต่กลยุทธ์ที่ต้องถือเป็นต้นแบบทางการตลาดอย่างแท้จริงคงจะหนีไม่พ้นกลยุทธ์การตลาด 4p(Horchover 2002)
1.
Product ก็คือสินค้าหรือบริการที่เราจะเสนอให้กับลูกค้า (DiClemente,
Crosby et al. 2002)แนวทางการกำหนดตัว product ให้เหมาะสมก็ต้องดูว่ากลุ่มเป้า
หมายต้องการอะไร แต่โดยทั่วไปแนวทางที่จะทำสินค้าให้ขายได้มีอยู่สองอย่างคือ (Aydinli, Bertini et al. 2014)
2. Price ราคาเป็นสิ่งที่ค่อนข้างสำคัญในการตลาด การตั้งราคาในที่นี้จะเป็นการตั้งราคาให้เหมาะสมกับ ผลิตภัณฑ์ และกลุ่มเป้าหมายของเรา เพราะราคาคือตัวบ่งบอกภาพลักษณ์ของสินค้าที่สำคัญที่สุด |
3. Place คือวิธีการนำสินค้าไปสู่มือของลูกค้า (Bose, Folse et al. 2013)หลักของการเลือกวิธีกระจายสินค้านั้นไม่ใช่ขายให้มากสถานที่ที่สุดจะดีเสมอ
เพราะมันขึ้นอยู่กับว่า สินค้าของท่านคือ อะไร และกลุ่มเป้าหมายท่านคือใคร เช่นของใช้ในระดับบน
ควรจะจำกัดการขายไม่ให้มีมากเกินไป
|
4. Promotion คือการทำกิจกรรมต่างๆ
เพื่อบอกลูกค้าถึงลักษณะสินค้าของเรา เช่นโฆษณาในสื่อต่างๆ หรือการทำกิจกรรม
ที่ทำให้คนมาซื้อสินค้าของเรา เช่นการทำการลดราคาประจำปี ขึ้นกับ ช่องทางที่เราจะใช้
ที่จะดีและอาจจะฟรีคือ สื่ออินเตอร์เนต ซึ่งมีผู้ใช้เพิ่มจำนวนขึ้นมากในแต่ละปี
สื่ออื่นๆที่ถูกๆ ก็จะเป็นพวก ใบปลิว โปสเตอร์ หากเป็นสื่อท้องถิ่นก็จะมี รถแห่
วิทยุท้องถิ่น หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ต้น
|
การโฆษณา (Advertising)
การขายโดยพนักงานขาย (Personal Selling)
การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion)
การประชาสัมพันธ์ (Public Relations)
การตลาดทางตรง (Direct Marketing)
1. ลักษณะของตลาดเป้าหมาย (Nature of Target Market)
2. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ (Nature
of Product)
การประยุกต์ใช้
หลายๆคนอาจเคยรู้จักเว็บขายดีล www.Ensogo.com ซึ่งขายสินค้าและบริการ มีทั้งร้านอาหาร
ความงามและสปา ที่พักโรงแรม ซึ่งทาง ensogo _จะหาร้านค้ามาลง โดยให้สินค้าลดลง 50-90%
`
แต่สิ่งที่ร้านค้ามาลงกับกับ ensogo
นั้นได้
•
การสร้างการรู้จักแบรนด์
(Brand Awareness)
•
ไม่เสียค่าโฆษณาก่อนล่วงหน้า เพราะถ้าไปโฆษณาโดยการออกบู๊ท โปรโมตตามหนังสือพิมพ์ ทีวี
วิทยุ จะเสียค่าโฆษณาก่อนล่วงหน้า โดยยังไม่ทราบว่าสินค้าจะขายได้หรือไม่
•
เสียค่าคอมมิชั่น 35-50 % สำหรับร้านอาหาร
และคลีนิคเสริมความงาม
•
การทำเงื่อนไขพิเศษ ใช้ได้บางช่วงเวลา โดยปกติแล้วโรงแรมจะมีผู้เข้าพัก วันศุกร์และ
เสาร์
ส่วนในช่วงวันอื่นจะไม่มีผู้เข้าพัก
ทางโรงแรมเลยนำมาลดราคา 50-70% ในวันอาทิตย์ถึงพฤหัสบดี และมีเงื่อนไขว่าถ้าเข้าพัก วันศุกร์และเสาร์จะเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม
กลุ่มลูกค้า ของ Ensogo คือ ผู้หญิง วัยนักศึกษาและวัยทำงาน มีอายุ ในช่วง 25 – 35 ปี
ซึ่งการทำการตลาดของ Ensogo นั้นคือ เน้นหลักคือการตลาดออนไลน์ ได้เน้นโฆษณาใน facebook และการอีเมล์ (e-Mail
List) จุดเด่นของEnsogo
คือ การสั่งซื้อง่าย สามารถตัดยอดผ่านอินเตอร์เน็ต หรือโอนที่เคาเตอร์เซอร์วิส ที่เซ่เว่น นอกจากนี้สินค้าและบริการมีราคาถูก เพราะลด
50-90% เพื่อกระตุ้นการขาย
ทางEnsogo ได้นำจำนวนการขายมาเร่งเพื่อปิดการขายอีกด้วย
Decision-Making Over Travel Agents: An Empirical
Study
" 2, No.
6: 8.
ดาราวัลย์ เนียมรัตน์ (2555). การวางแผนกลยุทธ์การตลาดด้านโปรโมชั.
ภาควิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
ยุพพา ขวัญสกุล (2549).
การวิจัยตรวจสอบยุทธศาสตร์การส่งเสริมการตลาดเพื่อเพิ่มจำนวนผู้ใช้บริการของร้านหัตถศิลป์ไทย.
ศิลปศาสตร์. สมุทรสาคร, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
มหาบัณฑิต.
วรสิทธิ์ สันตะพันธ์ (2552). กลยุทธการส่งเสริมการตลาดของร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ในเทศบาลนครอุบลราชธานี.
บริหารธุรกิจ อุบลราชธานี, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต.
แววศิริ ชมนารถติกร (2007). การออบแบบและพัฒนาเว็บโปโมชั่น กรณีศึกษา : โตโยต้า ฮอนด้า
และนิสสัน. เทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยมหิดล. มหาบัณฑิต: 145.
สาธินี แซ่ตั้ง (2553).
ความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อการบริการการจัดโปรโมชั่นบัตรสามชิกของห้างสรรพสินค้าขายปลีกขนาดใหญ่:
กรณีศึกษาเปรียบเทียบห้างเทสโก้
โลตัส
และห้างบิ๊กซีซุปเปอร์มาเก็ตในเขตจังหวัดนนทบุรี. บริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
มหาบัณฑิต.