วันอาทิตย์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ทฤษฎีระบบ (System Theory)

อรนุช  ตันติสุข 
รหัสนักศึกษา  57561027
D.B.A # 06   มหาวิทยาลัยศรีปทุม   ผศ.ดร. วิชิต  อู่อ้น

https://col128.mail.live.com/ol/clear.gifhttps://col128.mail.live.com/ol/clear.gifhttps://col128.mail.live.com/ol/clear.gifhttps://col128.mail.live.com/ol/clear.gif


ประวัติความเป็นมา  ความหมาย  ทฤษฎีระบบ (System Theory) มีต้นกำเนิดมาจากนักทฤษฎีองค์การและนักชีววิทยาคือ  โบลด์ดิ้งและ  เบอร์ทาแลนด์ไฟ  (Boulding  and  Bertalunffy)  ที่มององค์การในฐานะสิ่งมีชีวิต  โดยมองในรูประบบเปิดเหมือนระบบกายวิภาคของสิ่งมีชีวิต  (Anatomy)  เช่นเดียวกับ  มิลเลอร์และไรซ์  (Miller  and  Rice,  1967  :  3)  คิมเบอร์ลี่  (Kimberly,  1979  :  437 – 457)  และดาวส์  (Downs,  2524  :  13 – 20) 
ทฤษฎีระบบ (System Theory)   คือแนวความคิดการบริหารองค์กรทั้งระบบ  และแยกย่อยออกมาให้บริหารได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ  ซึ่งระบบขององค์กรจะแบ่งเป็น  2  ระบบใหญ่ๆคือ 
ระบบปิด  ( CLOSED SYSTEM)  คือระบบภายในที่ไม่ได้รับรู้คู่แข่ง  ไม่รับรู้ข่าวสารเทคโนโลยีต่างๆ  รวมถึงไม่ตะหนักในความต้องการของลูกค้าด้วย
ระบบเปิด  (OPEN SYSTEM) ระบบที่คำนึงถึงสภาพแวดล้อม  คำนึงถึงเศรษฐกิจ   ใส่ใจสถานการณ์ภายนอก  มีการยืดหยุ่นในการทำงาน

องค์ประกอบหลัก

สิ่งที่ป้อนเข้าไป (Input) หมายถึง ปัจจัยต่าง ๆ และองค์ประกอบแรกที่จะนำไปสู่การดำเนินงานของระบบ โดยรวมไปถึงสภาพแวดล้อมต่าง ๆ อันเป็นที่ต้องการของระบบนั้นด้วย ในระบบการศึกษาตัวป้อนเข้าไป
กระบวนการ (Process) เป็นองค์ประกอบที่สองของระบบ หมายถึง วิธีการต่าง ๆ ที่จะนำไปสู่ผลงานหรือผลผลิตของระบบ
ผลงาน (Output) หรือ ผลิตผล (Product) ซึ่งเป็นองค์ประกอบสุดท้ายของระบบ     หมายถึง ความสำเร็จในลักษณะต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพ หรือประสิทธิผล ในระบบการศึกษา      

การประยุกต์ใช้
ระบบต้องมีองค์ประกอบเพื่อการดำเนินงานซึ่งประกอบไปด้วย
1.สิ่งที่ป้อนเข้ามา (Input) เป็นองค์ประกอบแรกที่เข้าสู่กระบวนการ  ถ้าเป็นโรงงานอุตสาหกรรม  ก็จะเป็น  ผู้บริหาร  พนักงาน  สภาพแวดล้อมของการทำงาน  วัตถุดิบ  โรงงาน  เครื่องจักร
2.  กระบวนการ (Process)  เป็นองค์ประกอบของการทำงาน   คือการนำสิ่งป้อนเข้า เข้าสู่กระบวนการผลิต  เช่น  พนักงานนำสัปรด  เข้าสู่กระบวนการปลอก นำน้ำเชื่อมใส่  และบรรจุสู่กระป๋อง
 3. ผลงาน (Output) หรือ ผลิตผล (Product)  คือความสำเร็จต่างๆในการทำงานอย่างมีประสิทธ์ภาพ  เช่น สัปรดกระป๋องพร้อมขาย  หลังจากการตรวจสอบ QC
ทั้ง  3  ตัวการจะขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่ได้  ต้องใช้ทั้งหมดเพื่อทำให้เกิดงานอย่างมีประสิทธ์ภาพ  มีความสัมพันธ์เพื่อให้งานบรรลุเป้าหมาย
 Framework Management Tool box
ด้าน Planning  (Input)
·       1.Strategic Planning
·       2.SWOT Analysis
·       3.Five Forces Analysis
·       4.Value Chain Analysis
·       5.Industry Analysis
·       6. Stakeholder Analysis
·       7. Strategic Matrix
·       8.Alternative (TOWS, BCG, SPACE, GE, GRAND)
·       9.Product Life Cycle
·       10.Project Management
·       11.Benchmarking
ด้าน Organizing  (Process)
·       12.Core Competency
·       12.HRM
·       14.Team Development
·       15.Re-engineering
·       16.Mass Customer
·       17.Customer Relationship
Management
·       18.Corporate Social Responsibility
·       19.Corporate Governance
·       20.Knowledge Management
·       21. Learning Organization
·       22.E-learning
·       23.5’S
·       24.Six  Sigma
·       25.TQM
·       26.PMQA
ด้าน Leading (Process)
27.7’s Framewo
28 .Strategic Thinking
29.Brainstormin
30.Communication
31.Networking
  32.Visioning
33.Leadership
34.Change Management
 35.Blueprint for change
36.Outsourcing
37.Risk Management
38.PDCA
39.Value Based Management
Framework Management Tool Box
ด้าน Controlling   (Out put)
40.EVA
  41.ABC
42.BSC
43.KPI,CSF
44.Performance Management
 45.Performance Prism




ที่มา







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น